ผู้แต่ง |
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ |
ชื่อเรื่อง |
ประวัติศาสตร์สำเหนียก / ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ |
ISBN |
978-974-02-1622-3
|
พิมพ์ลักษณ์ |
กรุงเทพฯ : มติชน, 2561, [2018] |
เลขหมู่ |
DS571 ภ522ป 2561 |
ลักษณะทางกายภาพ |
10, 324 หน้า : ภาพประกอบ ; 19 ซม |
หมายเหตุ |
Contents: ภาคแรก : ประวัติศาสตร์นิพนธ์ : ไทย-ลานนา ล้านนาไทย :ประวัติศาสตร์นิพนธ์สถาปัตยกรรมล้านนา (พุทธศตวรรษที่ ๒๕-พ.ศ. ๒๕๔๙) -- พงศวดารอาเซียน ในแบบเรียนประวัติศาสตร์มัธยมไทย -- การเมืองในวันแม่ประวัติศาสตร์สำคัญ จากช่วงทศวรรษ ๒๔๘๐ -- กาลเทศะในวันเด็กแห่งชาติและความเป็นเด็ก ในพลเมืองยุคพัฒนา |
หมายเหตุ |
Contents: ภาคสอง : บุคลาธิษฐานวิพากษ์ : ศิลปาณานิคม ในนามของ ศิลป์ พีระศรีว่าด้วยอำนาจนำวงการศิลปะไทย -- อ่านทัศนะก้าวหน้าในยุคสมัยแห่งความล้าหลังผ่าน ส. ธรรมยศ. |
หมายเหตุ |
Summary: ช่วงที่รัฐมีอำนาจส่วนกลางเข้มแข็งหรือต้องการจะสร้างความเข้มแข็งและเสถียรภาพ การผูกขาด "การเล่าและเขียนประวัติศาสตร์ "เป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งเพื่อเสริมสร้างอำนาจความชอบธรรมให้มั่นคงในช่วงหลังมานี้การเขียนประวัติศาสตร์เพื่อวิพากษ์และชี้ให้เห็นปัญหาดังกล่าวมีมากขึ้นประวัติศาสตร์ไทยในมือนักประวัติศาสตร์ยุคหลังจึงมิใช่การอวดโอ่มหาอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ไพศาลอันอุดมสมบูรณ์อีกต่อไปในยุคปัจจุบันที่มีการค้นคว้าแนวคิดทางประวัติศาสตร์อันหลากหลายเราควรที่จะเริ่ม "สำเหนียก" หรือ "ตื่นรู้" ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ให้มากขึ้นการสำเหนียกประวัติศาสตร์ในเล่มนี้ มีทั้งด้านประวัติศาสตร์นิพนธ์ประวัติศาสตร์อาเซียนในแบบเรียน รวมไปถึงการวิพากษ์บุคลาธิฐานที่เกิดขึ้นน้อยมาก อันถือได้ว่าเป็นการเปิดหู เปิดตา เปิดปากให้กับการรับรู้ประวัติศาสตร์อีกด้านในสังคมไทย |
หัวเรื่อง |
ประวัติศาสตร์นิพนธ์ |
หัวเรื่อง |
ประวัติศาสตร์--รวมเรื่อง |
หัวเรื่อง |
ไทย--ประวัติศาสตร์ |
หัวเรื่อง |
ไทย--การเมืองและการปกครอง |