มีดรรชนีวารสาร • เครื่องมือส่งเสริมการเคลื่อนฟันชนิดไม่ต้องทำศัลยกรรมสำหรับเครื่องมือจัดฟันถอดได้แบบใส • ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่พึงประสงค์ของเนื้อเยื่ออ่อนจากการตัดปุ่มกระดูก • โลกดิจิตอลกับทันตกรรมที่ไม่ใช่แต่ในช่องปากเท่านั้น • สัญญาณช่วยชีวิต • การพัฒนาระบบการดูแลแบบทีมสหสาขาวิชาชีพในผู้ป่วยมะเร็งวัยสูงอายุที่ได้รับยาเคมีบำบัด • ต้นทุนต่อหน่ายและจุดคุ้มทุน ของเครื่อง visual biofeedback ในการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี • การศึกษาอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีในเด็กของสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี: จากฐานข้อมูลกลุ่มงานวิสัญญีวิทยา จำนวน 44,263 ราย ระยะเวลา 6 ปี • การวิจัยและพัฒนาวัตกรรมของเล่นรถถังเพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในเด็กอายุ 3-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า • ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมความผูกพันของผู้ป่วยด้านความปลอดภัยทางยาในโรงพยาบาลชุมชน • ผลของการให้การบำบัดแบบย่อโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมต่อภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมการดื่มสุราในผู้ติดสุราที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ เชียงใหม่ • ความพร้อมของครอบครัวและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมของครอบครัวในการดูแลเด็กป่วยประคับประคอง ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี • การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการบำบัดรักษาภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยการประคบด้วยนวัตกรรมแผ่นประคบร้อน วิธีการฝังเข็ม และการออกกำลังกาย • การศึกษาเปรียบเทียบผลการประเมินระบบประสาทระหว่างทารกกลุ่มเสี่ยงที่มีผลการตรวจวิเคราะห์แก๊สในหลอดเลือดแดงสายสะดือผิดปรกติและทารกที่มีผลการตรวจปกติ • การพัฒนาเด็นทัลแพลตฟอร์มต้นแบบสำหรับผู้ป่วยทันตกรรมที่ใช้เก้าอี้ล้อเลื่อนและเมินการใช้งานเบื้องต้น • การศึกษาความดันระหว่างผิวสัมผัสผู้ป่วยที่ใช้เก้าอี้ล้อเลื่อนและเด็นทัลแพลตฟอร์มต้นแบบ • การประเมินความพึงพอใจผู้ป่วยและทันตแพทย์ที่ใช้เด็นทัลแพลตฟอร์มต้นแบบเพื่อการรักษาทางทันตกรรม • การเปรียบเทียบปริมาณฟลูออไรด์และคาเทชินในสารสกัดชาเขียวตามแต่ละพื้นที่ในประเทศไทย • ประสิทธิผลของการใช้เลเซอร์ในการรักษาการเกิดโรครอบรากฟันเทียมเปรียบเทียบกับวิธีการรักษาแบบไม่ผ่าตัด: การทบทวนอย่างเป็นระบบ • การพัฒนาและการประเมินผลรูปแบบการกำกับติดตามการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ ในจังหวัดศรีสะเกษ • การรักษาภาวะเห็นเหงือกเกินด้วยวิธีผ่าตัดประยุกต์ร่นริมฝีปาก: รายงานผู้ป่วย
|