มีดรรชนีวารสาร • การจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยไฟไหม้-น้ำร้อนลวก • การดูแลผู้ป่วยแผลไหม้ • การดูแลผู้ป่วยแผลไหม้ด้วยระบบข้อมูล UCHA • แอสไพริน ช่วยป้องกันโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็งลำไส้? • ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรียในการนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคตุ่มน้ำพองใส (Pemphigus Vulgaris) สถาบันโรคผิวหนัง ปี พ.ศ. 2554-2558 • การศึกษาคุณภาพชีวิตและผลการทดสอบเดินหกนาทีในผู้ป่วยสูงอายุภายหลังการใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจชนิดถาวรเปรียบเทียบระหว่างเครื่องชนิดกระตุ้นหัวใจห้องเดียวที่ปรับอัตราการเต้นหัวใจได้ตามกิจกรรมและเครื่องชนิดกระตุ้นหัวใจสองห้องบนล่างต่อเนื่อง • ผลลัพธ์การดูแลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพของคลินิกปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรงพยาบาลเลิดสิน กรุงเทพมหานคร • การศึกษาเปรียบเทียบผลการตั้งครรภ์ระหว่างสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ในโรงพยาบาลนางรอง • พลศาสตร์การไหลเวียนเลือดเมื่อให้ความอบอุ่นร่างกายด้วยผ้าห่มมาตรฐานและผ้าห่มประดิษฐ์ • ลักษณะภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้องของผู้ป่วยวัณโรคในช่องท้องที่ติดเชื้อเอชไอวี ในสถาบันบำราศนราดูร • ความรู้และพฤติกรรมของพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลระดับตติยภูมิเกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและภาวะปัสสาวะเล็ดราด • ประสิทธิผลของเทคนิคการสื่อสารที่ชัดเจนต่อความรู้และพฤติกรรมของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งท่อน้ำดีที่มารับบริการที่โรงพยาบาลพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ • เจลฟ้าทะลายโจรกับการรักษาโรคปริทันต์อักเสบ • ธาราบำบัดสำหรับผู้ป่วยพาร์กินสัน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ • การดูแลสุขภาพที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่รับบริการ ณ โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี • ผลของโปรแกรมปรับเปรียนวิถึชีวิตที่มีต่อแรงจูงใจในการป้องกันโรคและการควบคุมน้ำตาลในเลือดของประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา • การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมหลังการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาคเหนือ • ปัจจัยหลังคลอดที่มีผลต่อการมีชีวิตรอดของทารกไส้เลื่อนกะบังลมแต่กำเนิด • ความเชื่อด้านสุขภาพที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่มีการระบาด ตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา • ผลการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองจากโรงพยาบาลสู่เครือข่ายบริการ กรณีศึกษา โรงพยาบาลแพร่ • การพัฒนาระบบการคิดแยกผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ • โรคอมัยลอยโดซิสทั่วกาย โรคที่มักถูกลืมและมองข้าม ในเวชปฏิบัติ : รายงานผู้ป่วย 1 ราย
|