ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
112 ถนนสมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน กรุงเทพฯ 10600
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English

 
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    8495
003     ULIBM
008    020711s2558 th a 000 0 tha d
060    ว.WM105 ณ321 2558
100    ณัฐปกรณ์ โพธิ์ทอง
245    ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาในโรงพยาบาลนานในผู้ป่วยอารมณ์สองขั้วของสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา:รายงานการวิจัย /ณัฐปกรณ์ โพธิ์ทอง และทัศนีย์ กุลจนะพงศ์พันธ์
260    กรุงเทพฯ :^bสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา,^c2558
300    42 หน้า
550     วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาในโรงพยาบาลนานในผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขั้ว ของสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
550   ัสดุและวิธีการ การศึกษาครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ จุด เวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional study) โดยศึกษาจากเวชระเบียนของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคอารมณ์สองขั้ว ที่ถูกรับไว้รักษาในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ระหว่าง 1 ตุลาคม 2556 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 จำนวน 211 คน โดยใช้แบบเก็บข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษา
550   ลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนเพศชายและหญิงใกล้เคียงกัน อายุเฉลี่ยอยู่ที่ 40.3 ± 14.41 ปี ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย /ปวช./ปวส. (ร้อยละ 35.5), โสด (ร้อยละ 60.7), ว่างงาน (ร้อยละ 47.4), ใช้สิทธิ์ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ร้อยละ 44.1), รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วย manic episode (ร้อยละ 86.3), มี psychotic symptoms (ร้อยละ 65.4), ไม่มีโรคประจำตัวทางกาย (ร้อละ 65.4), ไม่มีโรคร่วมทางจิตเวช (ร้อยละ 82), ญาติเป็นผู้นำส่ง (ร้อละ 90), ไม่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า (ร้อละ 97.8), จำหน่ายจากโรงพยาบาลโดยไม่ได้ปรึกษาสังคมสงเคราะห์/จิตเวชชุมชน (ร้อยละ 94.8), และได้รับยาตั้งแต่ 3 ขนานขึ้นไป (ร้อยละ 78.2) ปัจจัยที่พบว่าเกี่ยวข้อกับการรักษาในโรงพยาบาลนานตามเกณฑ์จำแนกของการพยาบาลในสถาบันฯ (คือตั้งแต่ 35 วันขึ้นไป) ได้แก่ เพศหญิง (OR = 0.29, 95% CI = 0.14, 0.61), จำนวนครั้งของการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลก่อนหน้ามากกว่า 10 ครั้ง (OR = 3.07, 95% CI = 1.07, 8.74), ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า (OR = 33.68, 95% CI = 3.44, 329.6) และการได้รับยาก่อนจำหน่ายตั้งแต่ 3 ขนานขึ้นไป (OR = 2.81, 95% CI = 1.09, 7.28) ปัจจัยที่พบว่าเกี่ยวข้องในเกณฑ์จำแนกอื่น ๆ ได้แก่ การจำหน่ายจากโรงพยาบาลโดยมีการปรึกษาสังคมสงเคราะห์/ จิตเวชชุมชน และการได้รับยา antupsychotics ในขนาด CPZ equivalence มากกว่า 1,000 mg
550   รุป ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรักษาในโรงพยาบาลนานในผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขั้ว มีความแตกต่างกันในแต่ละเกณฑ์จำแนก จึงควรพิจารณาเลือกนำผลการศึกษาไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทที่แตกต่างกัน
650    ผู้ป่วยอารมณ์สองขั้ว ^xวิจัย
650    สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา^xวิจัย
700    ทัศนีย์ กุลจนะพงศ์พันธ์
999    ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย
วิจัย
ว.WM105 ณ321 2558 c.1 
  Barcode: Re000057
ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
►วิจัย
On Shelf
2. วิจัย
วิจัย
ว.WM105 ณ321 2558 c.2 
  Barcode: Re000058
ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
►วิจัย
On Shelf
   [แสดง 2/2 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    ผู้แต่ง [ณัฐปกรณ์ โพธิ์ทอง]

    หัวเรื่อง [สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา วิจัย]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ปัจจัยที่เกี่ยวข้..
Bib 8495


 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.