ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
112 ถนนสมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน กรุงเทพฯ 10600
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English

 
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    8478
003     ULIBM
008    020711s2556 th a 000 0 tha d
060    ว.WT150 ย442 2556
100    ยุวดี แตรประสิทธิ์, ร.ต.ท.หญิง
245    ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมต่อภาวะทุพพลภาพวัยท้ายของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า/ยุวดี แตรประสิทธิ์, ร.ต.ท.หญิง
260    กรุงเทพฯ :^bจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,^c2556
300    152 หน้า
500     วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
500    สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556
550     การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะทุพพลภาพวัยท้ายของผู้สูงอายุ โรคซึมเศร้า ก่อนหลังและระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคม และกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีอายุ 60 ปีบริบูลณ์ขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอก จำนวน 40 ครอบครัวและได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 ครอบครัว กลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยประยุกต์แนวคิดการการสนับสนุนทางสังคม และได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ครั้ง ๆ ละ 60 นาที ติดต่อกัน 5 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3)แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม และ 4) แบบวัดภาวะทุพพลภาพวัยท้ายในผู้สูงอายุมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ .88, .82, .87 และ .86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
550  ลการวิจัยมีดังนี้
550 1.  ค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะทุพพลภาพวัยท้ายของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ภายหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
550 2.  ค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะทุพพลภาพวัยท้ายของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
550  รุปผลการวิจัย
550  ารนำโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสามารถนำไปใช้ลดภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าสามารถได้
650    โปรแกรมการสนับสนุนทางสังคม ^xวิทยานิพนธ์
650    ผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ^xวิทยานิพนธ์
999    ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย
วิจัย
ว.WT150 ย442 2556 c.1 
  Barcode: Re000040
ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
►วิจัย
On Shelf
Note: วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556
   [แสดง 1/1 รายการ]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ผลของโปรแกรมการสน..
Bib 8478


 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.