LEADER 00000nam 2200000uu 4500 |
001 8471 |
003 ULIBM |
008 020711s2558 th a 000 0 tha d |
060 ว.WX157 ท228 2558
|
100 ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา
|
245 การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่อย งานส่งเสริมและป้องกันด้านสุขภาพจิต ศูนย์สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2557/ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา และคนอื่นๆ
|
260 นนทบุรี :^bศูนย์สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต,^c2558
|
300 119 หน้า
|
550 วัตถุประสงค์ : เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วย งานส่งเสริมและป้องกันด้านสุขภาพจิต ศูนย์สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ทั้งประเทศ รวม 13 ศูนย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 ถึง 30 กันยายน 2557)
|
550 ธีการวิจัย : เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เก็บข้อมูลย้อนหลังจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิที่มีอยู่แล้ว ในทัศนะของผู้ใช้บริการโดยแบ่งหน่วยต้นทุน ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ หน่วยต้นทุนงานหลัก 6 หน่วย และหน่วยต้นทุนงานสนับสนุน 6 หน่วย
|
550 � ต้นทุนทางตรงทั้งหมด ประกอบด้วยต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ และค่าลงทุน ปันส่วนต้นทุนจากหน่วยต้นทุนงานสนับสนุนไปเป็นต้นทุนทางอ้อม ของหน่วยต้นทุนงานหลัก ตามเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนที่เหมาะสม โดยการกระจายโดยตรง คำนวณเป็นต้นทุนรวม, ต้นทุนดำเนินการ, ต้นทุนต่อหน่วยบริการหรือหน่วยผลผลิต และต้นทุนทั้งหมด
|
550 � ผลการวิจัย : พบว่าศูนย์สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ทั่วประเทศทั้ง 13 ศูนย์ มีต้นทุนทั้งหมด 110,268,396.21 บาท มีค่าเฉลี่ยต่อศูนย์สุขภาพจิต เท่ากับ 8,482,184.32 บาท มีร้อยละของต้นทุนค่าแรง, ค่าวัสดุ และค่าลงทุนเท่ากับ 65.21, 31.77 และ 3.03 ตามลำดับ โดยหน่วยต้นทุนงานหลัก มีร้อยละของต้นทุนค่าแรง, ค่าวัสดุ, และค่าลงทุนเท่ากับ 57.06, 40.73, และ 2.20 ตามลำดับ และหน่วยต้นทุนงานสนับสนุน มีร้อยละของต้นทุนค่าแรง, ค่าวัสดุ และค่าลงทุน เท่ากับ 81.92, 13.36 และ 4.72 ตามลำดับ
|
550 � หน่วยต้นทุนงานหลัก มีต้นทุนรวม แยกเป็นต้นทุนทางตรงทั้งหมด เท่ากับ 74,143,255.54 บาท คิดเป็นร้อยละ 67.24 และต้นทุนทางอ้อมที่ปันส่วนจากหน่วยต้นทุนงานสนับสนุน 36,125,140.67 บาท คิดเป็นร้อยละ 32.76 และมีต้นทุนดำเนินการ เท่ากับ 106,929,595.73 บาท
|
550 � หน่วยต้นทุนงานหลักซึ่งประกอบด้วย งานสนับสนุนและพัฒนาเครือข่าย, งานกำกับดูแล ให้คำปรึกษา, งานจัดการความรู้, งานฝึกอบรมและสัมมนา, งานฐานข้อมูลและเครือข่าย และงานวิกฤตสุขภาพจิต มีต้นทุนรวมคิดเป็นร้อยละของต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 27.64, 13.22, 26.83,10.92 และ 9.27 ตามลำดับ
|
550 � ต้นทุนต่อหน่วยบริการหรือหน่วยผลผลิตของงานสนับสนุนและพัฒนาเครือข่าย เท่ากับ 32,281.53 บาทต่อหน่วยงาน, งานกำกับดูแล ให้คำปรึกษา 15,447.82 บาทต่อหน่วยงาน, งานจัดการความรู้ 351,780.29 บาท ต่อเรื่อง, งานฝึกอบรมและสัมมนา 2,040.92 บาทต่อคน, งานฐานข้อมูลและเครือข่าย 154,322.07 บาทต่อเรื่อง และงานวิกฤตสุขภาพจิต 11,079.09 บาทต่อทีม
|
550 � ต้นทุนของศูนย์สุขภาพจิตต่ออำเภอในพื้นที่รับผิดชอบ เท่ากับ 119,080.34 บาท และต้นทุนต่อหัวประชากรในพื้นที่รับผิดชอบ เท่ากับ 1.70 บาท
|
550 � ข้อเสนอแนะ: การศึกษานี้สะท้อนให้เห็นถึงต้นทุนต่าง ๆ ของศูนย์สุขภาพจิต นับว่าเป็นประโยชน์สำหรับผู้บริหารในการกำหนดนโยบาย และบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ในงานส่งเสริมและป้องกันด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะการทำแผนงบประมาณ ที่สอดคล้องกับเป้าหมายของบริการหรือผลผลิตที่ต้องการ และควรมีการควบคุมสัดส่วนต้นทุนค่าแรง: ค่าวัสดุ; ค่าลงทุน ที่เหมาะสม
|
650 สุขภาพจิต^xต้นทุนต่อหน่อย ^yวิจัย
|
700 กรทิพย์ วิทยากาญจน์
|
700 จุฑารัตน์ ขาวลออ
|
700 อารี อยู่ภู่
|
999 ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
|