ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
112 ถนนสมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน กรุงเทพฯ 10600
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English

 
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    5588
003     ULIBM
008    020711s2544 th a 000 0 tha d
020    9749940946
050    วBF335 อ332 2544
100    อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
245    พัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิตและการปรับตัวของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัวในโรงพยาบาลและในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร/อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
260     ^aกรุงเทพฯ:^b2544
300    130 หน้า
502    ทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2544
550    งานวิจัยเรื่อง พัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิตและการปรับตัวของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัวในโรงพยาบาลและในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานครนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและการปรับตัว และการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิตและการปรับตัว ของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัวทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชนกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้มี 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่ศึกษาสภาพปัญหาและการปรับตัวได้แก่ผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว 9 โรค จำนวน 180 ราย ได้แก่โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง โรคทางจิตเวช โรคเอดส์ โรคกระดูกและข้อ โรคเบาหวาน และผู้พิการ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลอง ได้แก่ ผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว 8 โรค ได้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวที่เป็นผู้ดูแลหลัก โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง โรคทางจิตเวชโรคเอดส์ โรคกระดูกและข้อ และโรคเบาหวาน จำนวน 160 ราย สุ่มเข้าสู่กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 80 ราย เท่า ๆกัน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดการปรับตัวด้านจิตสังคมของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัวที่คณะผู้วิจัยพัฒนาจากแบบวัด การปรับตัวด้านจิตสังคมจากแนวคิดของ Deragotio ได้หาความตรงเชิงเนื้อหาโดยผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ ดังรายนามในภาคผนวก และหาส่าความเที่ยงของแบบวัด ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 และได้พัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว ซึ่งคณะผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วยกิจกรรมการให้ความรู้เรื่องโรคและการปรับตัว ต่อปัญหาด้านจิตสังคม โดยใช้กระบวนการสอนและการปรึกษาแบบกลุ่ม จากนั้นได้ทบทวนความตรงเชิงเนื้อหาโดยผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ ปรับแก้และทดลอง ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพปัญหาของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว พบว่าปัญหาที่สำคัญและมีความต้องการการช่วยเหลือเป็นidแรกก็คือ ปัญหาการปรับตัวทางด้านจิตใจ รองลงมาก็คือปัญหาปรับตัวด้านอาชีพการงาน ด้านเพศ ด้านกิจกรรมทางสังคม ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านสุขภาพ และด้านสัมพันธภาพในครอบครัวตามid 2. สภาพปัญหาของครอบครัวตัวผู้ป่วยเรื้อรัง พบว่า ปัญหาที่สำคัญและมีความต้องการช่วยเหลือเป็นidแรกก็คือ ปัญหาการปรับตัวทางด้านจิตใจ รองลงมาก็คือปัญหาการปรับตัวด้านอาชีพการงาน ด้านกิจกรรมทางสังคม ด้านเพศ ด้านสัมพันธทางสังคม ด้านสุขภาพ และด้านสัมพันธภาพในครอบครัวตามid 3.ผลการทดลองใช้รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิต ของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว ภายหลังการทดลองใช้รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิต ของผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่เข้ากลุ่มทดลองมีความสามารถในการปรับตัวสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลองมีความสามารถในการปรับตัวสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 สรุปได้ว่า รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิตและการปรับตัวของผู้ป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาลสามารถประยุกต์รูปแบบนี้ไปใช้กับผู้ป่วยเรื้อรังอื่น ๆได้โดยปรับเรื่องความรู้ให้เหมาะสมตามชนิดของโรค
650  0 การส่งเสริมสุขภาพจิต-วิจัย
650  0 การปรับตัว-วิจัย
700 0  พิชญาภรณ์ มูลศิลป์
700 0  จิราพร เกศพิชญวัฒนา
700 0  เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์
700 0  นรลักขณ์ เอื้อกิจ
700 0  รัชนีกร เกิดโชค
700 0  อัญชลี ศรีสุพรรณ
700 0  ชนกพร จิตปัญญา
999     ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย
วิจัย
วBF335 อ332 2544  
  Barcode: Re000001
ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
►หนังสือทั่วไป
On Shelf
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    ผู้แต่ง [อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: พัฒนารูปแบบการส่ง..
Bib 5588


 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.