LEADER 00000nam 2200000uu 4500 |
001 10366 |
003 ULIBM |
008 020711s2559 th a 000 0 tha d |
060 ว.WM 29.5 พ637 2559
|
100 พิจิตรา ชุณหฐิติธรรม, ชฎาภา ประเสริฐทรง, ชนิกา เจริญจิตต์กุล, ทวีศักดิ์ กสิผล, ศิริยุพา นันสุนานนท์,อำพัน จารุทัสนางกูร
|
245 ประสบการณ์ของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท/พิจิตรา ชุณหฐิติธรรม และคนอื่นๆ
|
260 กรุงเทพฯ :^bมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ,^c2559
|
300 86 หน้า
|
550 รายงานการวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฏการณ์วิทยาเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้ดูแลหลัก ในด้านการรับรู้ต่อการเจ็บป่วย การประคับประคองภายในครอบครัวที่สนับสนุนทางด้านอารมณ์ผู้ป่วยที่ใช้ทฤษฏีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว และ การแสวงหาแหล่งบริการด้านสุขภาพจิต โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกร่วมกับการสังเกตอย่างมีส่วนร่วมในผู้ดูแลหลักของครอบครัวผู้ป่วยซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิตเภท จำนวน 13 ราย ผู้ดูแลส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 51.62 (±16.63) ปี เป็นเพศหญิง และไม่ได้ทำงานมีระยะเวลาดูแลผู้ป่วยจิตเภทโดยเฉลี่ย 11.58 ปี ช่วงเวลาในการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่ 6 เดือน จนถึง 40 ปี การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาพบว่า ผู้ดูแลมีการรับรู้เมื่อสมาธิในครอบครัวป่วยเป็นโรคจิตเภทจะแสดงความรู้สึกตกใจ เสียใจและกังวลใจ ทำให้การสื่อสารในช่วงแรกจึงเน้นการใช้คำสั่งเพื่อที่จะควบคุมพฤติกรรม เมื่อสถานการณ์นั้นไม่เป็นผลผู้ดูแลจึงยอมรับในอาการของผู้ป่วยจิตเภท ประเมินอาการ และมีวิธีการรับมือกับปัญหาของผู้ป่วย ผู้ดูแลในวัยสูงอายุมีความกังวลต่ออนาคตในการที่จะต้องหาบุคคลมาดูแลต่อเนื่องและสถานที่สำหรับการดูแลระยะยาว
|
650 ผู้ป่วยโรคจิตเภท ^xวิจัย
|
999 ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
|