ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
112 ถนนสมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน กรุงเทพฯ 10600
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English

 
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    10365
003     ULIBM
008    020711s2559 th a 000 0 tha d
060    ว.BF637.B4 ก425 2559
100    กาญจนา สุทธิเนียม
245    การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพและผลการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของอาจารย์ บุคลากร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา/กาญจนา สุทธิเนียม
260    กรุงเทพฯ :^bมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา,^c2559
300    121 หน้า
550     การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของอาจารย์ บุคลากร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 2 ศึกษาผลการใช้โปรแกรมพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (3-Self) และตัวชี้วัดสุขภาพ ได้แก่ น้ำหนัก ดัชนีมวลกาย เส้นรอบวงเอว ระดับน้ำตาลในเลอด ระดับไขมันในเลือดและความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพ 3 ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์และบุคลากร คณะครุศาสตร์ มรภ. บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ระยะที่ 1 กำหนดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของเครซี่ และมอร์แกน จำนวน 130 คน และระยะที่ 2 ที่เป็นไปตามเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 22 คน ศึกษาระหว่างเดือนกรกฎาคม 2558 เดือนมิถุนายน 2559
550   ครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ 2) แบบประเมินความเสี่ยงต่อเบาหวาน 3) แบบประเมินภาวะสุขภาพทั่วไป 4) แบบประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 Self 5) แบบวัดความพึงพอใจหลังเข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ 6) โปรแกรมการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัดสุขภาพทางด้านร่างกาย ก่อน และหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ 5 ครั้ง เป็นเวลา 10 สัปดาห์ ติดตามผลหลังเข้าโปรแกรมสัปดาห์ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้สถิติ pair t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (Repeated measure one-way ANOVA)
550   ลการวิจัย
550  1 . พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X=3.68) พิจารณารายด้าน พบว่า ด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคล มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด (X=4.15) รองลงมาได้แก่ ด้านพัฒนาจิตวิญญาณ (X=4.00) ด้านการจัดการความเครียด (X=3.65) ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ (X=3.62) ด้านโภชนาการอยู่ในระดับมาก (X=3.54) ด้านออกกำลังกาย (X=2.71) อยู่ในระดับปานกลาง มีระดับความเสี่ยงเบาหวานอยู่ในระดับสูง (21-30%) ร้อยละ 23.8 และยังพบว่าช่วงอายุ 21-40 ปี และ 41-68 ปี จะมีระดับความเสี่ยงเบาหวานอยู่ในระดับ 21-30%) ถึงสูงมาก (>30%) ในสัดส่วนใกล้เคียงกันร้อยละ 22.7 และ 23.8 ตามลำดับ และมีปัยหาสุขภาพจิต ร้อยละ 13.8 เพศชายมีสัดส่วนการมีปัญหาสุขภาพจิตสูงกว่าเพศหญิงเล็กน้อย (ร้อยละ 22.9 และร้อยละ 13.8 ตามลำดับ)
550  2 . พฤติกรรมสุขภาพ (3 Self) ของกลุ่มทดลองก่อน และหลังเข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และหลังติดตามผลมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีค่าเฉลี่ยตัวชี้วัดสุขภาพทางร่างกาย ก่อนและหลังการทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05, p<.001) และมีค่าเฉลี่ยตัวชี้วัดสุขภาพทางชีวเคมี ก่อนและหลังการทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001)
550  3 . ความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมาก (X=3.46)
650    พฤติกรรมสุขภาพ^xมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา^yวิจัย
999    ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย
วิจัย
ว.BF637.B4 ก425 2559 c.1 
  Barcode: Re000441
ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
►วิจัย
On Shelf
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    ผู้แต่ง [กาญจนา สุทธิเนียม]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: การศึกษาพฤติกรรมส..
Bib 10365


 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.