ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
112 ถนนสมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน กรุงเทพฯ 10600
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English

 
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    10362
003     ULIBM
008    020711s2559 th a 000 0 tha d
060    ว.WM172 ภ374 2559
100    ภัทรา กิตติภัทรกุล
245    ความชุกของโรคซึมเศร้าและสภาวการณ์ฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีนของผู้ป่วยในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา : รายงานการวิจัย/ภัทรา กิตติภัทรกุล
260    กรุงเทพฯ :^bสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา,^c2559
300    69 หน้า
550    วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้าและสภาวการณ์ฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน และศึกษาระดับโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน
550  ัสดุและวิธีการ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive study) ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross sectional study) โดยศึกษาจากเวชระเวียนและสัมภาษณ์ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามิน ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในที่สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 100 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์ M.I.N.I. แบบเก็บข้อมูลทั่วไป แบบสอบถาม HAM-D และปัจจัยต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษา
550  ลการศึกษา จากผู้ป่วยที่มีปัยหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน 100 คน พบผู้ป่วยโรคร่วมจิตเวช 91 คน เป็นโรคซึมเศร้า MDD1 dysthymia และสภาวการณ์ฆ่าตัวตาย 5, 11, 29 คน ตามลำดับ พบผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้าและมีสภาวการณ์ฆ่าตัวตาย 2 คน ความชุกของ MDD และ dysthymia ในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน ได้แก่ 5.49% และ 12.09% ตามลำดับ ความชุกของโรคซึมเศร้า (MDD หรือ dysthymia ในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่ม แอมเฟตามีน คือ 17.58% ความชุกของสภาวการณ์ฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน คือ 31.8% ความชุกของโรคซึมเศร้าและสภาวการณ์ฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน คือ 2.2%
550   ัจจัยที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับ major depressive disorder อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือสถานภาพสมรสคู่ปัจจัยอื่น ๆ ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กับโรคซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัยที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับสภาวการณ์ฆ่าตัวตายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ antisocial personality disorder ส่วนปัจจัยอื่นๆ ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กับสภาวการณ์ฆ่าตัวตายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
550  รุป ความชุกของโรคซึมเศร้า (major depressive disorder หรือ dysthymia) ในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน คือ 17.58% ความชุกของสภาวการณ์ฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน คือ 13.87% ความชุกของโรคซึมเศร้าและสภาวการณ์ฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่มีโรคจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน คือ 2.2%
650    สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา^xผู้ป่วยใน ^yวิจัย
650    โรคซึมเศร้า^xผู้ป่วยใน ^yวิจัย
650    การฆ่าตัวตาย^xผู้ป่วยใน ^yวิจัย
999    ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย
วิจัย
ว.WM172 ภ374 2559 c.1 
  Barcode: Re000438
ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
►วิจัย
On Shelf
   [แสดง 1/1 รายการ]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ความชุกของโรคซึมเ..
Bib 10362


 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.