LEADER 00000nam 2200000uu 4500 |
001 10360 |
003 ULIBM |
008 020711s2558 th a 000 0 tha d |
060 ว.WM30 ก678 2558
|
100 กิ๊ฟลัน ดอเลาะ
|
245 ปัจจัยที่เกี่ยวงข้องกับการมารับบริการที่แผนกจิตเวชฉุกเฉินสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา โดยที่ไม่มีภาวะฉุกเฉินที่แท้จริง : รายงานการวิจัย/กิ๊ฟลัน ดอเลาะ
|
260 กรุงเทพฯ :^bสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา,^c2558
|
300 34 หน้า
|
550 วัตถุประสงค์ : เพือศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมารับบริการที่แผนกจิตเวชฉุกเฉินของผู้ป่วย โดยที่ไม่มีภาวะฉุกเฉินที่แท้จริง ณ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
|
550 ัสดุและวิธีการ : การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive research) และการศึกษาเชิงวิเคราะห์ (Analytic research) ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional study) โดยศึกษาจากเวชระเบียนของผู้ป่วยทุกรายที่มารับบริการแผนกจิตเวชฉุกเฉินสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ในทุก ๆ วันที่ 1, 9, 17, 25 ของเดือนโดยเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึง เดือน กันยายน 2557 ผ่านแบบบันทุกข้อมูลที่ผู้วิจัยได้จัดทำ โดยแบ่งข้อมูลเป็นสองส่วนได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลและข้อมูลเกี่ยวกับการมารับบริการและประวัติทางจิตเวชและใช้สถิติต่อไปนี้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, logistic regression และ multiple logistic regression
|
550 ลการศึกษา : ผู้ป่วยเป็นผู้ชายร้อยละ 66.6 อายุเฉลี่ย 37.13±13.36 ปี, ว่างงานร้อยละ 55.5, สถานภาพโสด ร้อยละ 65.4, ส่วนใหญ่ไม่ได้รับการศึกษาหรือจบการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 36.0, ไม่มีโรคประจำตัวร้อยละ 82.5, อาศัยอยู่กับญาติร้อยละ 89.0, มีระยะเวลาเจ็บป่วยอยู่ระหว่าง 0-5 ปี คิดเป็นร้อยละ 54.5, การวินิจฉัยโรคทางจิตเวชครั้งล่าสุดคือ schizophrenia ร้อยละ 53.6, มีประวัติการใช้ยาเสพติดคิดเป็นร้อยละ 56.3 โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่ใช้สารเสพติด 2 ชนิดขึ้นไป, ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ทราบประวัติความสม่ำเสมอของการรับประทานยาคิดเป็นร้อยละ 40.5 และไม่เคยมีการรักษาแบบผู้ป่วยในมาก่อนคิดเป็นร้อยละ 52.4, กลุ่มอาการสำคัญที่พบมากที่สุดคือ อาการหวาดระแวง/หลงผิด คิดเป็นร้อยละ 26.9, ผู้ป่วยที่ถูกนำส่งโดยญาติหรือเพื่อนคิดร้อยละ 77.4, ผู้ป่วยส่วนใหญ่มารับบริการในเวรเช้าเป็นร้อยละ 48.8 และมาใช้บริการในช่วงการให้บริการแบบนอกเวลาราชการคิดเป็นร้อยละ 70.4 และพบว่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมารับบริการด้วยภาวะฉุกเฉินที่แท้จริง ได้แก่ปัจจัยในเรื่อง เพศ การใช้สารเสพติด กลุ่มอาการลงมือทำร้ายผู้อื่น/ทำลายข้าวของ/ก้าวร้าว/วุ่นวาย/ อาละวาด การนำส่งโดยตำรวจ
|
550 รุป : มีผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกจิตเวชฉุกเฉิน สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา โดยที่ไม่มีภาวะฉุกเฉินที่แท้จริงคิดเป็นร้อยละ 35.5 และมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมารับบริการด้วยภาวะฉุกเฉินที่แท้จริง ได้แก่ปัจจัยในเรื่องเพศ การใช้สารเสพติ กลุ่มอาการลงมือทำร้ายผู้อื่น/ทำลายข้าวของ/ก้าวร้าว/วุ่นวาย/อาละวาด การนำส่งโดยตำรวจ
|
650 สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา^xวิจัย
|
650 การมารับบริการ- แผนกจิตเวชฉุกเฉิน^xวิจัย
|
999 ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
|