ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
112 ถนนสมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน กรุงเทพฯ 10600
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English

 
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    10358
003     ULIBM
008    020711s2559 th a 000 0 tha d
060    ว.WM402 ก676 2559
100    กิติรัฐ เนตรแก้ว
245    ความชุกและรูปแบบการสั่งยารักษาโรคจิตในผู้ป่วยจิตเภทที่ดื้อต่อการรักษาที่รับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในของสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา : รายงานการวิจัย/กิติรัฐ เนตรแก้ว
260    กรุงเทพฯ :^bสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา,^c2559
300    40 หน้า
550    วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความชุกและรูปแบบการใช้ยารักษาโรคจิตของผู้ป่วยจิตเภทที่ดื้อต่อการรักษาที่รับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในของสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
550  ิธีการศึกษา : เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา โดยเก็บข้อมูลแบบสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional descriptive study) จากเวชระเบียน รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติของผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในของสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ตั้งแต่วันที่ 15 พ.ย. 2558 – 15 พ.ค. 2559 ซึ่งได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคจิตเภท (ICD-10 : F20.0 – F20.9) โดยประเมินผู้ป่วยที่เข้ากับจิตเภทที่ดื้อต่อการรักษาเพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลประวัติการรักษา รวมทั้งประเมินความรุนแรงด้วยเครื่องมือแบบประเมิน Brief psychiatric rating rating scale (BPRS) และ แบบประเมิน Clinical globalimpression (CGI) ส่วนการประเมินระดับความสามารถในการทำหน้าที่ของผู้ป่วยใช้แบบประเมิน Personal and Social Performance Scale, Thai Version (Thai-PSP) แล้วนำข้อมูลแสดงผลทางสถิติโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
550  ลการศึกษา : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจิตเภทจำนวน 524 คน โดยเป็นผู้ป่วยจิตเภทดื้อต่อการรักษาจำนวน 51 คน (ร้อยละ 9.7) ในผู้ป่วยจิตเภทดื้อต่อการรักษา เป็นเพศชาย 23 คน (ร้อยละ 45.1) เพศหญิง 28 คน (ร้อยละ 54.9) ประเมินความรุนแรงด้วย BPRS ค่าเฉลี่ย 53.57 คะแนน (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8.06) ประเมินความรุนแรงด้วย CGI-S ผลเข้ากับ markedly ill 45 คน (ร้อยละ 88.2) อายุเริ่มป่วยเฉลี่ยของผู้ป่วยจิตเภทดื้อต่อการรักษา 26.69 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.60) รูปแบบการใช้ยารักษาโรคจิตของผู้ป่วยจิตเภทดื้อต่อการรักษาใช้ยา 1 ชนิด จำนวน 35 คน (ร้อยละ 68.7) โดยใช้ยา clozapine 24 คน (ขนาดยา clozapine เฉลี่ย 322.92 mg/day, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 119.54) และกลุ่มใช้ยามากกว่า 1 ชนิด จำนวน 16 คน (ร้อยละ 31.3) การใช้ยาฉีด long action 25 คน (ร้อยละ 49.1) การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy-ECT) 19 คน (ร้อยละ 37.2)โดยเป็นช่วง acute 17 คน และเป็น maintenance 2 คน
550  รุปผล : ความชุกผู้ป่วยจิตเภทดื้อต่อการรักษาเป็นร้อยละ 9.7 มีรูปแบบยาส่วนใหญ่เป็นยารักษาโรคจิต 1 ชนิด ร้อยละ 68.7 ซึ่งยาที่เลือกใช้ในกลุ่มที่ใช้รักษาโรคจิต 1 ชนิดมากที่สุดคือ clozapine ร้อยละ 47.1
650    การรักษาด้วยยา ^xผู้ป่วยใน ^yวิจัย
650    ยารักษาโรคจิต ^xผู้ป่วยใน ^yวิจัย
650    ผู้ป่วยจิตเภท^xผู้ป่วยใน ^yวิจัย
650    สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ^xผู้ป่วยใน ^yวิจัย
999    ^aขจีนิภา เมธีวรกุลกิจ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย
วิจัย
ว.WM402 ก676 2559 c.1 
  Barcode: Re000434
ห้องสมุดสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
►วิจัย
On Shelf
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    ผู้แต่ง [กิติรัฐ เนตรแก้ว]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ความชุกและรูปแบบก..
Bib 10358


 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.