เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก


Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    1895
003     ULIBM
008    210108s||||||||th 000 0 tha d
090    ^aสพ868^bป525ก 2551
100 0  ^aปัณฑารีย์ ประสาทศรี
245 10 ^aการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้กลุ่มสุขภาพจิตศึกษาในผู้ป่วยจิตเภท =^bAsynthesis of research on psychoeducation groups inschizophrenic patients /^cปัณฑารีย์ ประสาทศรี
246 31 ^aSynthesis of research on psychoeducation groups inschizophrenic patients
260    ^a^c2551, [2008]
300    ^aก-จ, 146 แผ่น ;^c30 ซม.
502    ^aสารนิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช))--มหาวิทยาลัยมหิดล,2551
520 3  ^aการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้กลุ่มสุขภาพจิตศึกษาใน ผู้ป่วยจิตเภทโดยรวบรวมงานวิจัยและหลักฐานทางวิชาการ จากฐานข้อมูลต่างๆทางอิเล็คทรอนิคส์ และห้องสมุด มีงานวิจัยที่ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 9เรื่อง ได้ข้อมูลสำคัญที่นำมาสรุปเป็น 5 ส่วน คือ 1)ส่วนประกอบของกลุ่มได้แก่ ลักษณะและขนาดของกลุ่ม เป็นกลุ่มปิด มีทั้งจำนวนสมาชิก 4-6 คน และ 8-10 คน ผู้นำกลุ่มมีหลายวิชาชีพแต่ควรมีความรู้ความชำนาญ และมี ประสบการณ์ในการทำกลุ่มสมาชิกกลุ่มคือผู้ป่วยจิตเภททั้งในชุมชน ผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาลและในแผนกผู้ป่วยนอก ระยะเวลาในการเข้ากลุ่มแต่ละครั้ง ประมาณ 1 ชั่วโมงถึง 1 ชั่วโมง 40 นาที ความถี่ในการดำเนินกลุ่ม ต่างกันไปคือ 2ครั้งต่อสัปดาห์ 1 ครั้งต่อสัปดาห์ในช่วงแรก และ 1 ครั้ง ต่อเดือนในช่วงหลังจำนวนครั้งในการเข้ากลุ่มมีตั้งแต่ 2 ครั้ง ถึง 20 ครั้ง ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง20 สัปดาห์ 2) ลักษณะกิจกรรมและเนื้อหาของกลุ่ม ประกอบด้วยการบรรยายอภิปราย ถาม-ตอบ และ ฝึกทักษะเกี่ยวกับ ความรู้เรื่องโรคจิตเภท สาเหตุอาการ และการรักษา อาการข้างเคียงของการรักษา ด้วยยาการป้องกันการป่วยซ้ำ การจัดการกับความเครียดและการเจ็บป่วยการพัฒนาทักษะทาง สังคม การเรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งสนับสนุนในชุมชน 3)วิธีดำเนินการของกลุ่มสุขภาพจิตศึกษาได้แก่ การให้ข้อมูลการใช้กระบวนการกลุ่ม การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการดำเนินกิจกรรม การฝึกปฏิบัติ 4) เครื่องมือที่ใช้วัดผลของกลุ่มได้แก่เครื่องมือวัดอาการทางจิต ความ ร่วมมือในการรักษาและการใช้ยา การทำหน้าที่ทางสังคมความรู้ คุณภาพชีวิต การแสดงออกทาง อารมณ์ของญาติ 5)ผลลัพธ์ของการใช้กลุ่มสุขภาพจิตศึกษาพบว่า เพิ่มความร่วมมือในการรักษา ลดการป่วยซ้ำ ลดการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลลดระยะเวลาการอยู่โรงพยาบาล มีคุณภาพ ชีวิตดีขึ้นการทำหน้าที่และการติดต่อทางสังคมดีขึ้น อาการทางจิตลดลงรับรู้ถึงตราบาปลดลง Coping skill ดีขึ้นระดับความรู้เกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการรักษาเพิ่มขึ้น องค์ความรู้ที่ได้จากการสังเคราะห์งานวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้กลุ่มสุขภาพจิตศึกษาในผู้ป่วยจิตเภทได้
520 3  ^aThe present study analyzed and synthesized researchstudies on the use of a psychoeducation group inschizophrenic patients. The author collected data fromelectronic resources and libraries. Nine research studiesmet the criteria with the following conclusions: 1)Regarding the size and characteristics of groups, a closedgroup consisted of four to six and eight to 12 members andwas led by an experienced therapist in a multidisciplinaryteam. The group members were patients with schizophreniadisorder from the O.P.D. of a community hospital. Thegroup activities lasted 60 to 100 minutes per session. Thefrequency of group therapy varied from once or twice aweek to monthly meetings. Group participation varied,ranging from two to 20 sessions within one to twentyweeks. 2) Regarding the characteristics of the activitiesand contents of the group, a knowledge of schizophreniawas disseminated through lectures and questions/answersconcerning causes, symptoms, treatments, pharmacotherapyside effects, secondary prophylaxis, stress management,social skill development, and sources of communitysupport. 3) With regard to the methods of psychoeducationgroups in schizophrenic patients, the group process wasused to disseminate knowledge and information, togetherwith role-playing, as well as practicing the creation ofmotivation and the promotion of social and culturalbeliefs. 4) As for the assessment tools, questionnaireswere used to assess psychotic symptoms, compliance withtreatment, adherence to pharmacotherapy, socialfunctioning, quality of life, and emotional expression offamily members and caregivers. 5) Concerning the outcomesof the use of a psychoeducation group with schizophrenicpatients, research findings revealed that psychoeducationgroups could result in higher cooperation with treatment,reduced relapses, reduced readmission into hospitals,improved quality of life, the promotion of socialfunctioning and communication, decreased psychoticsymptoms, decreased feelings of being stigmatized, anincrease in coping skills, and the promotion of knowledgeof the disorder and its treatment. The synthesized body ofknowledge derived in this study can be used as a guidelinefor further studies on the implications of psychoeducationgroups regarding the treatment of schizophrenic patients.
610 24 ^aมหาวิทยาลัยมหิดล^xสารนิพนธ์
610 24 ^aมหาวิทยาลัยมหิดล.^bคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี^xสารนิพนธ์
650  4 ^aการวิเคราะห์อภิมาน
650  4 ^aผู้ป่วยจิตเภท
691    ^aพย.ม. (2551)
692    ^aการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช (มหาวิทยาลัยมหิดล 2551)
700 0  ^aพเยาว์ พูลเจริญ,^eที่ปรึกษา
710 2  ^aมหาวิทยาลัยมหิดล
710 2  ^aมหาวิทยาลัยมหิดล.^bคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
999    ^aปวีณา เจียนกลาง
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์
วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์
สพ868 ป525ก 2551  
  Barcode: r002103
วิจัย On Shelf
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    หัวเรื่อง [ผู้ป่วยจิตเภท]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: การสังเคราะห์งาน..
Bib 1895




 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.