LEADER 00000nam 2200000uu 4500 |
001 14570 |
003 ULIBM |
008 200817s||||||||th 000 0 tha d |
020 ^a9786161830823
|
040 ^aDMH^btha
|
060 4 ^aWA495^bป421ภ^d2562
|
100 0 ^aประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์,^eผู้แต่ง
|
245 10 ^aภาวะหมดไฟในการทำงาน = Burn-out syndrome /^cประเสริฐผลิตผลการพิมพ์, เขียน ; ชัชนันท์ ประสพวงศ์, วาดภาพประกอบ
|
246 31 ^aBurn-out syndrome
|
250 ^aพิมพ์ครั้งที่ 1
|
300 ^a137 หน้า ;^c21 ซม
|
490 1 ^aชีวิตและสุขภาพ ;^vลำดับที่ 260
|
505 0 ^aเพราะภาระงานหรือบรรยากาศการทำงาน -- แท่งงานและสิ่งแวดล้อม --แท่งงานและการจัดลำดับความสำคัญ -- แท่งงานและ Executive function(EF) -- บรรยากาศการทำงานและอำนาจ --บรรยากาศการทำงานและการแบ่งชั้นวรรณะ --บรรยากาศการทำงานและอาการปากหวานก้นเปรี้ยว --บรรยากาศการทำงานและอิสรภาพ -- กลุ่มอาการเบิร์น-เอ๊าต์ --มากเท่าไรถึงจะเป็น -- หรือว่าเป็นที่เราเอง -- แม่เป็นอาชีพหรือเปล่า --สถานที่ทำงานที่ไม่มีเรา -- สรุปสาเหตุของเบิร์น-เอ๊าต์ --นิสัยเราเก่งคนเดียว -- แพทย์และพยาบาล -- กลไกและพยาธิสภาพ --การนอนหลับช่วยได้จริงหรือ -- เบิร์น-เอ๊าต์และโรคหลอดเลือดหัวใจ --ผู้ป่วยแผลไฟไหม้ -- ความไว้ใจ ความซื่อตรง และการรักษาความลับ --การดูแลผู้ป่วยสูงอายุ -- ผู้ป่วยสมองเสื่อมในวัยชรา -- เรื่องแพทย์แระจำบ้าน-- สรุปโรคที่อาจจะเกิดจากเบิร์น-เอ๊าต์ -- รอยโรคในสมอง -- แก้ไขเบิร์น-เอ๊าต์ -- จิตวิเคราะห์และความเป็นมาของเบิร์น-เอ๊าต์ -- เบิร์น-เอ๊าต์สู่การแพทย์สมัยใหม่ -- เบิร์น-เอ๊าต์สู่ศตวรรษที่ 21
|
520 ^aเมื่อใครสักคนมีท่าทางหดหู่ ปลีกตัว หรือนิ่งเฉยเรามักนึกถึงโรคซึมเศร้าเป็นอันดับแรกคงมีไม่กี่คนจะคิดว่านี่เป็นเพียงภาวะหมดไฟในการทำงาน ซึ่งไม่ใช่โรคซึมเศร้าภาวะหมดไฟในการทำงานแค่รู้สึกเหนื่อยล้าจากการทำงาน ไม่มีใจหมดแรงที่จะทำงานต่อไป ซึ่งอาการจะส่งผลต่อร่างกายได้ เช่น นอนไม่หลับกังวลใจทุกครั้งที่ต้องไปทำงาน รู้สึกเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย อาจมีอาการปวดศีรษะคลื่นไส้ อาเจียน รวมถึงปวดเมื่อยร่างกายทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง ดังนั้นเมื่อเกิดภาวะหมดไฟในการทำงานสิ่งที่ต้องทำคือ เพิ่มทัศนคติด้านบวกให้กับตนเอง หยุดพักเพื่อจัดการความเครียดออกกำลังกาย มองหาแรงบัลดาลใจ และปรับสภาพแวดล้อมในการทำงาน เช่นจัดโต๊ะใหม่ ปรับความสมดุลในชีวิต แยกเรื่องงานและเรื่องส่วนตัวให้ชัดเจนหรือถ้ารับมือไม่ไหวก็ควรพบจิตแพทย์เพื่อบำบัดอาการทางกายและใจเพื่อป้องกันการเกิดโรคซึมเศร้าที่อาจเกิดตามมาได้ --^2ปกหลัง
|
650 2 ^aBurnout, Professional
|
650 7 ^aการทำงาน
|
650 7 ^aสมดุลชีวิตการทำงาน
|
650 7 ^aความเครียดในการทำงาน
|
700 0 ^aชัชนันท์ ประสพวงศ์,^eผู้วาดภาพประกอบ
|
830 0 ^aชีวิตและสุขภาพ ;^vลำดับที่ 260
|
999 ^aฐิติญา จันทพรม
|