LEADER 00000nam 2200000uu 4500 |
001 14088 |
003 ULIBM |
008 181113s||||||||th 000 0 tha d |
060 ^aวพ WM193.5.S8 ผ662ผ 2560
|
099 2 ^aวิทยานิพนธ์
|
100 0 ^aผุสดี กุลสุวรรณ,^eผู้แต่ง
|
245 10 ^aผลของพฤติกรรมบำบัดโดยผู้ดูแลมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเร /^cผุสดี กุลสุวรรณ = THE EFFECT OF BEHAVIOR THERAPYWITH CAREGIVER INVOLVEMENT ON AGGRESSIVE BEHAVIORS OFSCHOOL-AGE CHILDREN WITH CONDUCT DISORDER /
|
246 31 ^aTHE EFFECT OF BEHAVIOR THERAPY WITH CAREGIVER INVOLVEMENTON AGGRESSIVE BEHAVIORS OF SCHOOL-AGE CHILDREN WITHCONDUCT DISORDER
|
260 ^a2560
|
300 ^aก-ฎ, 116 แผ่น
|
502 ^aวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560
|
520 ^aการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดสองครั้งก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเรก่อนและหลังได้รับพฤติกรรมบำบัดโดยผู้ดูแลมีส่วนร่วมและเปรียบเทียบพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเรระหว่างกลุ่มที่ได้รับพฤติกรรมบำบัดโดยผู้ดูแลมีส่วนร่วมกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติกลุ่มตัวอย่าง คือเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเร อายุ 7 – 12 ปีและผู้ดูแลที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ได้รับการจับคู่และสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 20 คนกลุ่มทดลองได้รับการดูแลโดยใช้พฤติกรรมบำบัดโดยผู้ดูแลมีส่วนร่วม 4 ครั้งส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่คู่มือพฤติกรรมบำบัดสำหรับผู้ดูแล,แนวทางปฏิบัติพฤติกรรมบำบัดโดยผู้ดูแลมีส่วนร่วมสำหรับพยาบาลและแบบวัดความสามารถของผู้ดูแลในการนำพฤติกรรมบำบัดไปใช้ในการดูแลเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเรที่บ้าน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเรเครื่องมือทุกฉบับได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน5 ท่าน แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเร และแบบวัดความสามารถของผู้ดูแลในการนำพฤติกรรมบำบัดไปใช้ในการดูแลเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเรที่บ้าน มีความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ.86, .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยและสถิติทดสอบค่าที่ (t-test) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1.พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเรหลังได้รับพฤติกรรมบำบัดโดยผู้ดูแลมีส่วนร่วม น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2.พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเกเรหลังการทดลองในกลุ่มที่ได้รับพฤติกรรมบำบัดโดยผู้ดูแลมีส่วนร่วม น้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
|
520 ^aThe purposes of this quasi-experimental research using thepretest-posttest design were: 1) to compare aggressivebehaviors of school – age children with conduct disorderbefore and after using the behavior therapy with caregiverinvolvement, and 2) to compare aggressive behavior ofschool – age children with conduct disorder using thebehavior therapy with caregiver involvement and those whoreceived regular nursing care. Forty school – age childrenwith conduct disorder who met the inclusion criteria andreceived services in out-patient department, were matchedpair and randomly assigned into one experimental group andone control group, thus, 20 subjects in each group. Theexperimental group received the behavior therapy withcaregiver involvement program which consisted of 4sessions. The control group received regular nursing care.Research instruments for experimental group included anurses’ protocol for behavior therapy with caregiverinvolvement for school – age children with conductdisorder with caregivers’ manual, and a scale forassessing caregivers’ ability to perform behavior therapyat home. Data collection tools included personal dataquestionnaires, and aggressive behavior assessment scale.All instruments were content validated by a panel of 5professional experts. The Conbach’s Alpha reliability ofaggressive behavior assessment scale and a scale forassessing the ability of caregivers to perform behaviortherapy at home were .86 and .87 respectively. Descriptivestatistics and t-test were used in data analysis. Majorfindings were as followed:- 1. Aggressive behaviors ofschool – age children with conduct disorder afterreceiving behavior therapy with caregiver involvement wassignificantly lower than those before, at the .05 level.2. Aggressive behaviors of school – age children withconduct disorder who received behavior therapy withcaregiver involvement was significantly lower than thosewho received regular nursing care, at the .05 level
|
650 04 พฤติกรรมบำบัด
|
700 0 ^aจินตนา ยูนิพันธุ์,^eที่ปรึกษา
|
710 2 ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bคณะพยาบาลศาสตร์
|
710 2 ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
|
856 4 ^a^zวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text)^uhttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59531
|
999 ^aฐิติญา จันทพรม
|