เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    14083
003     ULIBM
008    181112s||||||||th 000 0 tha d
060 04 ^aวพ WM274 พ424ผ 2560
099  2 ^aวิทยานิพนธ์
100 0  ^aพรินทร ปิ่นสุภา,^eผู้แต่ง
245 10 ^aผลของโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจโดยครอบครัวต่อพฤติกรรมการดื่มสุราในผู้ป่วยจิตเภทที่มีปัญหาการดื่มสุรา /^cพรินทร ปิ่นสุภา = THE EFFECT OFFAMILY MOTIVATION INTERVIEWING PROGRAM ON ALCOHOLCONSUMPTION IN SCHIZOPHRENIC PATIENTS WITH ALCOHOLDRINKING PROBLEM /
246 31 ^aTHE EFFECT OF FAMILY MOTIVATION INTERVIEWING PROGRAM ONALCOHOL CONSUMPTION IN SCHIZOPHRENIC PATIENTS WITH ALCOHOLDRINKING PROBLEM
502    ^aวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560
520    ^aการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1)คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ป่วยจิตเภทที่มีปัญหาการดื่มสุราที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจโดยครอบครัวในระยะก่อนและหลังการทดลองและ 2)คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ป่วยจิตเภทที่มีปัญหาการดื่มสุราที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจโดยครอบครัวกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติในระยะก่อนและหลังการทดลองกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจิตเภทที่มีปัญหาการดื่มสุราจำนวน 40 คนซึ่งมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์ที่กำหนด และมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยในสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ ได้รับการจับคู่กลุ่มตัวอย่างด้วยระดับปัญหาการดื่มสุราแล้วถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คนกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจโดยครอบครัว (FamilyMotivation Interviewing) ที่ผู้วิจัยประยุกต์จากการศึกษาของSmeerdijk et al. (2009) ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1)โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจโดยครอบครัว 2)แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (ACA) และ4) แบบวัดขั้นตอนความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงและความต้องการในการรักษา(SOCRATES-8A)เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5คน เครื่องมือชุดที่ 4 พบค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ .86วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที (t-test)ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ผู้ป่วยจิตเภทที่มีปัญหาการดื่มสุราในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจโดยครอบครัวมีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการดื่มสุราในระยะหลังการทดลองน้อยกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.หลังการทดลองผู้ป่วยจิตเภทที่มีปัญหาการดื่มสุราในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจโดยครอบครัวมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดื่มสุราน้อยกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
520    ^aThe purpose of this Pretest-Posttest with a comparisongroup research design were to compare: 1) alcoholconsumption of schizophrenic patients with alcoholdrinking problem before and after received familymotivational interviewing program (FMI), and 2) alcoholconsumption of schizophrenic patients with alcoholdrinking problem who received the FMI and those whoreceived regular nursing care. The sample consisted of 40schizophrenic patients with alcohol drinking problem whomet the inclusion criteria and received services at theinpatient department, Galya Rajanagarindra Institute. Theywere matched-pairs with scores on alcohol drinking problemand then randomly assigned to either experimental orcontrol group, 20 subjects in each group. The experimentalgroup received the FMI that applied from the study ofSmeerdijk et al. (2009) whereas the control groupsreceived regular nursing care. Research instrumentscomprised of: 1) FMI, 2) Demographic questionnaire, 3) Thealcohol consumption assessment (ACA), and 4) The stage ofchange readiness and treatment eagerness scale (SOCRATES-8A). All instruments were verified for content validity by5 professional experts. The reliability of the 3rdinstrument was reported by Pearson Coefficient as of .86.Data were analyzed using descriptive statistics, dependentand independent t-tests. The findings of this researchare as follows: 1. the mean score on alcohol consumptionof schizophrenic patients with alcohol drinking problemwho received the FMI measured at post intervention wassignificantly lower than that before the intervention at p.05; 2. the mean score on alcohol consumption ofschizophrenic patients with alcohol drinking problem whoreceived the FMI measured at post intervention wassignificantly lower than those who received regularnursing care at p .05
700 0  ^aเพ็ญพักตร์ อุทิศ,^eที่ปรึกษา
710 2  ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bคณะพยาบาลศาสตร์
710 2  ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
856 4  ^a^zวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text)^uhttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59529
999    ^aฐิติญา จันทพรม
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
5655
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. หนังสือ
หนังสือ
วพ WM274 พ424ผ c.1 
  Barcode: 024176
วิจัย On Shelf
Note:บริจาค
   [แสดง 1/1 รายการ]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ผลของโปรแกรมการเ..
Bib 14083

 
 
 

 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.