เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    14086
003     ULIBM
008    181112s||||||||th 000 0 tha d
060  4 ^aวพWM420.5.A2 อ761ค 2553
099  2 ^aวิทยานิพนธ์
100 0  ^aอิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์,^d2524-
245 10 ^aความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดความคิดและพฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลงของภาวะซึมเศร้า ของผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี ณโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ /^cอิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ = The associationbetween cognitive behavioral therapy and change ofdepression among HIV-infected patients at KingChulalongkorn Memorial Hospital / Isareethika Jayasvasti
246 31 ^aAssociation between cognitive behavioral therapy andchange of depression among HIV-infected patients at KingChulalongkorn Memorial Hospital
260    ^a^c2553
300    ^aก-ฎ, 114 แผ่น
502    ^aวิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
520    ^aการศึกษาถึงผลของการบำบัดความคิดและพฤติกรรม(CBT) ต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวียังอยู่ในวงจำกัดสำหรับประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการบำบัดความคิดและพฤติกรรมและการ เปลี่ยนแปลงของภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อเอชไอวีภายหลังได้รับการบำบัดความคิดและพฤติกรรมครบ 1 เดือน และที่เวลา 3เดือนหลังจากเสร็จสิ้นการบำบัดความคิดและพฤติกรรมโดยทำการศึกษาเชิงวิเคราะห์ชนิดไป ข้างหน้าในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มศึกษา (CBT group) จำนวน 40 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ (Non-CBT group) จำนวน 80 คน ณคลินิกภูมิคุ้มกันและภูมิแพ้ และคลินิกโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มที่เข้ารับการบำบัดความคิดและพฤติกรรม มีอายุเฉลี่ย44.8 ปี ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบมี อายุเฉลี่ย 43.4 ปีประมาณครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มเป็นเพศหญิงเมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของปัจจัยพื้นฐานระหว่างกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มพบว่าเหตุการณ์ความเครียดในชีวิตในช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมาของกลุ่มที่เข้ารับการบำบัดความคิดและพฤติกรรมสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
520    ^aในช่วง baselineคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าของกลุ่มที่เข้ารับการบำบัดความคิดและพฤติกรรมเท่ากับ 26.7 คะแนน ส่วนในกลุ่มเปรียบเทียบ เท่ากับ 25.3 คะแนนเมื่อควบคุมอิทธิพลของปัจจัยร่วมอันได้แก่ อายุ เพศ การใช้ยา efavirenzแรงสนับสนุนทางสังคม เหตุการณ์ความเครียดในชีวิตและสัมพันธภาพของการรักษาระหว่างผู้ป่วยกับ แพทย์พบว่าการเปลี่ยนแปลงของคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าในกลุ่มที่เข้ารับการบำบัดความคิดและพฤติกรรมมีมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งจากการประเมินภายหลังจากได้รับการบำบัดความคิดและ พฤติกรรมครบ 1เดือน [11.84 (95% CI: 9.55,14.13)] (p<0.001) และที่ 3เดือนหลังจากเสร็จสิ้นการบำบัดความคิด และพฤติกรรม [15.74 (95% CI:13.28, 18.20)] (p<0.001) จากผลการศึกษาในครั้งนี้สรุปได้ว่าการบำบัดความคิดและพฤติกรรมมีประโยชน์ในการรักษาภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีโดยประสิทธิผลของการรักษาพบทั้งหลังจากการเสร็จสิ้นการบำบัดทันทีและยังคงอยู่เมื่อมีการติดตามไปข้างหน้าที่ระยะเวลา 3 เดือน
520    ^aIn Thailand, the therapeutic effect of cognitivebehavioral therapy (CBT) for depression among adultHIVinfected patients has been limitedly studied. Theobjectives of this study were to determine the associationof CBT and changes of depression both immediately and at 3-month post-treatment. A prospective cohort study wasconducted at King Chulalongkorn Memorial Hospital. Fortyand eighty HIV-infected adults who received and did notreceive CBT were recruited from the immunology clinic andsexually transmitted diseases clinic. The results showedthat the mean ages of participants were 44.8 and 43.4years in the CBT and non-CBT groups respectively. In bothgroup, about half of the subjects were females. Lifestress event score in CBT group was significantly higherthan the non-CBT group (p <0.05). At baseline, the meanTDI scores of the CBT group and non-CBT group were 26.7and 25.3 respectively. After adjustment for age, gender,taking efavirenz, social support, life stress event andpatient’s trust ; the mean changes of TDI scores in theCBT group were significantly higher than the non-CBT groupboth immediately [11.84 (95% CI: 9.55, 14.13)] (p <0.001)and at 3-month post-treatment [15.74 (95% CI: 13.28,18.20)] (p < 0.001). According to the finding of thisstudy, CBT is beneficial for treatment of depression amongadult HIVinfected patients in Thailand. The beneficialeffect of CBT was not only immediate but also sustained at3-month post-treatment.
650  0 ^aHIV (Viruses)
650  0 ^aAIDS (Disease)^xTreatment
650  0 ^aDepression
650  0 ^aHIV-positive persons^xCare
650  7 ^aปริญญาดุษฎีบัณฑิต
650  7 ^aโรคเอดส์^xการรักษา
650  7 ^aเอชไอวี (ไวรัส)
650  7 ^aความซึมเศร้า
650  7 ^aผู้ติดเชื้อเอชไอวี^xการดูแล
700 0  ^aIsareethika Jayasvasti
700 0  ^aนรินทร์ หิรัญสุทธิกุล,^eที่ปรึกษา
700 0  ^aณัทธร พิทยรัตน์เสถียร,^eที่ปรึกษาร่วม
700 0  ^aวิฑูรย์ โล่ห์สุนทร,^eที่ปรึกษาร่วม
710 2  ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม
710 2  ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bสาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชน
856 4  ^a^zวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text)^uhttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31895
999    ^aฐิติญา จันทพรม
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
5655
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. หนังสือ
หนังสือ
วพWM420.5.A2 อ761ค 2553 c.1 
  Barcode: 024173
วิจัย On Shelf
Note:บริจาค
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    หัวเรื่อง [Depression]
    หัวเรื่อง [เอชไอวี (ไวรัส)]
    หัวเรื่อง [ความซึมเศร้า]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ความสัมพันธ์ระหว..
Bib 14086

 
 
 

 Union Library Management : ULibM
Copyright 2023. All Rights Reserved.