เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    13519
003     ULIBM
008    171012s||||||||th 000 0 tha d
090  4 ^aวพ W864 น522ผ 2554
100 0  ^aน้ำทิพย์ วิชาชัย
245 10 ^aผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น /^cน้ำทิพย์ วิชาชัย = The effect of family counselingprogram on suicidal risk behaviors in adolescents /Namthip Wichachai
246 31 ^aEffect of family counseling program on suicidal riskbehaviors in adolescents
250    ^a2554
260    ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bสาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
300    ^aก-ฌ, 127 แผ่น
500    ^aพิมพ์ดีด (ถ่ายสำเนา)
502    ^aวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
520    ^aการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดสองครั้งก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการการให้คำปรึกษาครอบครัว 2)เปรียบเทียบพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัว กับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายที่ได้รับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดลพบุรี ซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ จำนวน 40 คนและได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คนกลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วยการดำเนินกิจกรรม 6 ครั้ง เพื่อพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่การแก้ปัญหา การสื่อสาร บทบาทหน้าที่ การตอบสนองทางอารมณ์ความผูกพันทางอารมณ์ และการควบคุมพฤติกรรมส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1)โปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัว 2) แบบประเมินความคิดฆ่าตัวตาย และ3) แบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่านโดยแบบประเมินทั้ง 2 ชุดได้หาค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้ค่าเท่ากับ .81ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นหลังได้รับโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.พฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
650  0 ^aSuicidal behavior
650  0 ^aAdolescence^xSuicidal behavior
650  0 ^aFamily counseling
650  4 ^aวัยรุ่น^xพฤติกรรมฆ่าตัวตาย
700 0  ^aNathip Wichachai
700 0  ^aอรพรรณ ลือบุญธวัชชัย,^eที่ปรึกษา
710 2  ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bสาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
999    ^aฐิติญา จันทพรม
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
5655
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย/วิทยานิพนธ์/กรณีศึกษา
วิจัย/วิทยานิพนธ์/กรณีศึกษา
วพ W864 น522ผ 2554 c.1 
  Barcode: 024723
วิจัย On Shelf
Note:อภินันทนาการ
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    หัวเรื่อง [Suicidal behavior]
    หัวเรื่อง [Family counseling]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ผลของโปรแกรมการใ..
Bib 13519

 
 
 

 Union Library Management : ULibM
Copyright 2025. All Rights Reserved.