เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
LEADER 00000nam 2200000uu 4500
001    13518
003     ULIBM
008    171012s||||||||th 000 0 tha d
090 04 ^aวพWM171 อ334ป 2554
100 0  ^aอรพิน คำโต
245 10 ^aปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ /^cอรพินคำโต= Factors related to adaptation among older personswith depressive disorder / Orapin Kumto
246 31 ^aFactors related to adaptation among older persons withdepressive disorder
250    ^a2554
260    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bคณะพยาบาลศาสตร์
300    ^aก-ฌ, 117 แผ่น
500    ^aพิมพ์ดีด (ถ่ายสำเนา)
502    ^aวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
520  ��ารศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษารายได้ ระยะเวลาการเจ็บป่วย ภาวะซึมเศร้า การสนับสนุนทางสังคมกับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลทั่วไปภาคตะวันออกโดยการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 165 คน เครื่องมือรวบรวมข้อมูล คือแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบวัดความเศร้าผู้สูงอายุไทยมีค่าความเที่ยงเท่ากับ.83แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86แบบสอบถามการปรับตัว มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .85วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสถิติไคสแควร์ โดยกำหนดความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุมีการปรับตัวในระดับปานกลาง ([mean] = 2.14, ± S.D = .39) 2.เพศ ระยะเวลาการเจ็บป่วยไม่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัว 3.อายุและระดับภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์ทางลบกับการปรับตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 (r =-.249, r = -.304) ตามลำดับ 4. สถานภาพสมรส ระดับการศึกษารายได้ การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการปรับตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (χ²=6.60, χ² = 22.93, r = .252, r = .815 ตามลำดับ)ข้อเสนอแนะของงานวิจัยในการดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ คือควรมีการศึกษาในลักษณะการวิจัยเชิงทดลองเพื่อพัฒนาและศึกษาผลของโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนทางสังคมสำหรับการดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุให้มีการปรับตัวที่เหมาะสมกับการเจ็บป่วยด้วย โรคซึมเศร้า
650  0 ^aAdjustment (Psychology)
650  0 ^aDepression in old age
650  4 ^aการปรับตัว (จิตวิทยา)
650  4 ^aความซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
700 0  ^aOrapin Kumto
700 0  ^aรังสิมันต์ สุนทรไชยา,^eที่ปรึกษา
710 2  ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bคณะพยาบาลศาสตร์
710 2  ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.^bสาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
999    ^aฐิติญา จันทพรม
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
5655
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิจัย/วิทยานิพนธ์/กรณีศึกษา
วิจัย/วิทยานิพนธ์/กรณีศึกษา
วพWM171 อ334ป 2554 c.1 
  Barcode: 024724
วิจัย On Shelf
Note:อภินันทนาการ
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    หัวเรื่อง [Adjustment (Psychology)]
    หัวเรื่อง [Depression in old age]
    หัวเรื่อง [การปรับตัว (จิตวิทยา)]
    หัวเรื่อง [ความซึมเศร้าในผู้สูงอายุ]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ปัจจัยที่มีความส..
Bib 13518

 
 
 

 Union Library Management : ULibM
Copyright 2023. All Rights Reserved.